Last updated: 14 ม.ค. 2564 | 939 จำนวนผู้เข้าชม |
พิมพ์ออฟเซ็ท และ พิมพ์ดิจิตอล คืออะไร ต่างกันยังไง ?
สำหรับลูกค้าทั่วไปที่เคยใช้บริการงานพิมพ์ โลโก้สติ๊กเกอร์ ฉลากสินค้า ไม่ว่าจะเป็นร้านพิมพ์เล็ก ๆ หรือโรงพิมพ์ใหญ่ ๆ คงจะเคยได้ยินเจ้าหน้าที่พูดเรื่อง “พิมพ์ออฟเซ็ท” กับ “พิมพ์ดิจิตอล” แต่คงไม่รู้ว่ามันคืออะไรและแตกต่างกันอย่างไร แล้วงานพิมพ์ โก้สติ๊กเกอร์ ฉลากสินค้า ของคุณควรพิมพ์ระบบไหนถึงจะเหมาะสมทั้งคุณภาพและราคา เพื่อเป็นประโยชน์ในการตัดสินใจ
เรามาดูกันค่ะว่างานพิมพ์ โลโก้สติ๊กเกอร์ ฉลากสินค้า ด้วระบบ พิมพ์ออฟเซ็ท และงานพิมพ์โลโก้สติ๊กเกอร์ ฉลากสินค้า ด้วระบบ ดิจิตอลแตกต่างกันอย่างไร
งานพิมพ์โลโก้สติ๊กเกอร์ ฉลากสินค้า ด้วยระบบออฟเซ็ท : การพิมพ์งานในระบบนี้เป็นมาตรฐานการพิมพ์โลโก้สติ๊กเกอร์ ฉลากสินค้า ที่นิยมใช้กันทั่วไปในเรื่องของคุณภาพของงาน จะเน้นถึงความละเอียดของเม็ดสี สามารถแยกเม็ดสกรีนที่มีความละเอียดได้มาก งานจึงพิมพ์โลโก้สติ๊กเกอร์ ฉลากสินค้า จึงออกมาสวยงาม ส่วนเรื่องของเครื่องพิมพ์จะมีหลายขนาด มีทั้งเครื่องเล็กและเครื่องใหญ่ โดยจะเลือกตามความเหมาะสมของงานที่จะลง ในส่วนของเรื่องวัสดุที่สามารถลงได้มีหลากหลาย เช่น กระดาษผิวเรียบ กระดาษผิวหยาบ สติ๊กเกอร์ เป็นต้น อย่างไรก็ตามงานพิมพ์ระบบนี้เหมาะกับงานที่มีจำนวนมาก ทำให้มีราคาต่อหน่วยที่ถูก
งานพิมพ์โลโก้สติ๊กเกอร์ ฉลากสินค้า ด้วยงานพิมพ์ระบบดิจิตอล : การพิมพ์ โลโก้สติ๊กเกอร์ ฉลากสินค้างานในระบบนี้จะรวดเร็ว ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายเป็นอย่างดี ซึ่งเป็นการพิมพ์ โลโก้สติ๊กเกอร์ ฉลากสินค้าโดยมีเครื่องพิมพ์ต่อพ่วงกับคอมพิวเตอร์ จึงไม่ต้องมาแยกสีในการพิมพ์พิมพ์โลโก้สติ๊กเกอร์ ฉลากสินค้า เหมือนระบบออฟเซ็ท ทำให้ลดกระบวนการทำงานที่ซับซ้อนลงไปได้มาก เกิดความสะดวกรวดเร็วและคุณภาพงานพิมพ์พิมพ์โลโก้สติ๊กเกอร์ ฉลากสินค้า ใกล้เคียงกับงานพิมพ์พิมพ์โลโก้สติ๊กเกอร์ ฉลากสินค้า ด้วยระบบออฟเซ็ท โดยจะรับข้อมูลภาพจากคอมพิวเตอร์มาก็สามารถสั่งพิมพ์งานพิมพ์โลโก้สติ๊กเกอร์ ฉลากสินค้าได้เลย จึงเหมาะกันงานที่มีจำนวนน้อย
สรุปงานพิมพ์ทั้งระบบออฟเซ็ทและระบบดิจิตอล จะมีข้อดีและข้อเสียที่แตกต่างกันออกไป จึงทำให้ระบบการพิมพ์พิมพ์โลโก้สติ๊กเกอร์ ฉลากสินค้า แต่ละประเภทมีความเหมาะสมกับงานที่แตกต่างกันออกไป ดังนั้นการที่จะเลือกระบบพิมพ์ โลโก้สติ๊กเกอร์ ฉลากสินค้า แบบไหนดี จึงขึ้นอยู่กับลักษณะของงานที่จะพิมพ์ คุณภาพ ปริมาณและงบประมาณที่ต้องการ